A  A  A

 

AutoCAD:3D    
 


 
ถ้า ขึ้นต้นด้วยคำว่า"โปรแกรมเขียนแบบ" ทุกคนจะปฏิเสธไม่ได้ว่า จะไม่ใช้โปรแกรม AutoCAD  ไฟล์ .DWG ที่เป็นที่นิยมแพร่หลาย เหมือนเป็นเครื่องมือสื่อสารในโลกเขียนแบบอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งทุกคนจะต้องใช้งานหรือทำงานในมาตราฐานเดียวกัน หรือแม้กระทั่งคนที่ใช้โปรแกรมอื่นที่เหมือน หรือใกล้เคียงก็ยังไม่วายที่จะหันมาจับ AutoCAD เลย เนื่องจากเป็นที่นิยมสูงกว่าโปรแกรมอื่น และเป็นที่ต้องการของทุก ๆ บริษัททั่วโลกนั้นเอง
บทความ : ศราวุธ ดวงลี

ความรู้พื้นฐานผู้เรียน : ใช้คอมพิวเตอร์ได้ดี

  • หลักสูตรการใช้โปรแกรม Autocad 3D  ขั้นกลาง ( ใช้งานได้ทุกเวอร์ชั่น/เนื้อหาครอบคลุมทุกเวอร์ชั่น )
  • เรียนส่วนตัวในสถานที่ ตั้งแต่เวลา 09:00 น.-16:00 น. 1 วัน ค่าใช้จ่าย 4,500 บาท
  • เรียนส่วนตัวนอกสถานที่ กรุงเทพฯ และปริมณฑล  เรียนเต็มวัน 1 วัน ค่าใช้จ่าย 5,900 บาท
  • เรียนนอกสถานที่ คอร์สกลุ่ม กรุงเทพฯ,ปริมณฑล และต่างจังหวัด ยืนยันตามใบเสนอราคา 
  • หลักสูตรส่วนตัวเลือกเรียนได้อย่างอิสระ
  • ผู้เข้าอบรม 1 ท่าน / คอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง
  • ฟรี น้ำดื่ม ขนม กาแฟ เอกสารประกอบการสอน และปากกาจดบันทึก



 


 

หลักสูตร AutoCAD 3D

Part 01 : ทำความเข้าใจเบื้องต้นก่อนการเขียนแบบ

การจำแนกมุมมองของวัตถุในการเขียนแบบ เช่น ระนาบ 2 มิติ, Isometric, Oblique และ Multiview

เปลี่ยนแท็บเครื่องมือมาทำงานในระบบ 3 มิติด้วย Workspace

รู้จักการแบ่งโครงสร้างของวัตถุ ได้แก่ Wireframe และ Solid

ทำความรู้จักกับระบบแกนในการเขียนแบบ 3 มิติ (Planes)

การ เปลี่ยนมุมมองของพื้นที่ทำงานจาก View Controls ได้แก่ Top, Bottom, Left, Right, Front, Back, SW Isometric, SE Isometric, NE Isometric, NW Isometric, Parallel และ Perspective

การเปลี่ยนรูปแบบการแสดงผลพื้น ผิวของวัตถุจาก Visual Style Controls ได้แก่ 2D Wireframe, Conceptual, Hidden, Realistic, Shaded, Shaded with Edges, Shades of Gray, Sketchy, Wireframe และ X-Ray

การใช้คำสั่งเพื่อย่อและขยายพื้นที่ชิ้นงาน ได้แก่ Zoom Extent, View Cube, Orbit, Pan และการกดแป้นคีย์บอร์ดร่วมกับการใช้คลิกเมาส์และลูกกลิ้งเพื่อปรับมุมมอง พื้นที่ทำงาน

การปรับแกน UCS เพื่อเขียนชิ้นงานในระนาบ X,Y

 

Part 02 : การเขียนวัตถุ 3 มิติ

เขียนเส้นตรงด้วยคำสั่ง Draw

เขียนพื้นที่สี่เหลี่ยมด้วย Rectangle

เขียนพื้นที่หลายเหลี่ยมด้วย Polygon

เขียนระนาบวงกลมด้วย Center, Radius

เขียนระนาบวงรีด้วย Center

เขียนเส้นโค้งอิสระด้วย Spline

เขียนเส้นโค้งด้วย 3 Points

เขียนเส้นต่อเนื่องด้วย Polyline และ 3D Polyline

สร้างวัตถุรูปทรงกล่องด้วย Box

สร้างวัตถุรูปทรงกระบอกด้วย Cylinder

สร้างวัตถุรูปทรงโคนด้วย Cone

สร้างวัตถุรูปทรงกลมด้วย Sphere

สร้างวัตถุรูปทรงปิรามิดด้วย Pyramid

สร้างวัตถุรูปทรงลิ่มด้วย Wedge

สร้างวัตถุรูปทรงวงแหวนด้วย Torus

สร้างกำแพงต่อเนื่องด้วย Polysolid

ดึงเส้นพาธด้วย Extrude

ดึงพื้นผิววัตถุด้วย Presspull

ประสานพื้นผิวจากโครงเส้นพาธด้วย Loft

ดึงชิ้นงานให้หมุนรอบด้วย Revolve

ดึงชิ้นงานให้วิ่งตามเส้นพาธด้วย Sweep

 

Part 03 : การปรับแต่งวัตถุเบื้องต้น

คลิกวัตถุแล้วปรับรูปทรงด้วย Entity Grip

ลบวัตถุทิ้งด้วย Erase

ย่อ/ขยายวัตถุด้วย 3D Scale

เคลื่อนย้ายวัตถุด้วย 3D Move

พลิกกลับด้านวัตถุด้วย 3D Mirror

ประสานวัตถุด้วย 3D Align

หมุนวัตถุด้วย 3D Rotate

แยกวัตถุด้วย Explode

 

Part 04 : การปรับแต่งวัตถุชั้นสูง

ผสานวัตถุด้วย Union

ตัดวัตถุให้เหลือบางส่วนด้วย Subtract

เจาะวัตถุให้เหลือเพียงส่วนที่ทับกันด้วย Intersect

ผ่าแบ่งวัตถุด้วย Slice

เปลี่ยนพื้นผิวให้เป็นวัตถุตันด้วย Thicken

การใช้คำสั่ง Imprint

ตรวจสอบพื้นผิววัตถุด้วย Interference Checking

สร้างพื้นผิว Wireframe ด้วย Extract Edges

แต่งสันวัตถุให้โค้งมนด้วย Fillet Edge

ตัดสันวัตถุให้เอียงด้วย Chamfer Edge

ยกผิววัตถุให้เอียงสโลปด้วย Taper Faces

ดึงยืดเฉพาะพื้นผิววัตถุด้วย Extrude Faces

ทำสำเนาพื้นผิวของวัตถุออกไปด้วย Offset Faces

เจาะวัตถุตันให้กลวงด้วย Shell

ตรวจสอบชิ้นงานด้วย Check

จัดแยกชิ้นงานด้วย Separate

สร้างรูปตัดให้วัตถุด้วย Section Plane

ตัดพื้นผิววัตถุด้วย Surface Trim

ต่อพื้นผิววัตถุด้วย Surface Extend

ผสานระหว่างวัตถุเข้าหากันด้วย Blend

ปิดช่องว่างของวัตถุด้วย Patch

ทำสำเนาพื้นผิวและเส้นขอบของวัตถุออกไปด้วย Surface Offset

 

 หมายเหตุ  เนื้อหาการสอนจะสอดคล้องกับผู้เรียนเป็นรายบุคคล  แบบฝึกหัดในการเรียนจะเจาะจงเป็นรายบุคคลตามสายวิชาชีพของผู้เรียนโดยตรง